Pitching: AI for New Normal Economy

เชิดชูเกียรติผู้ได้รับรางวัล

ประกาศรางวัล

ชนะเลิศ ได้แก่ ทีม AI = Absolutely Idiots จาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รองชนะเลิศอันดับที่ 1 ได้แก่ ทีม Stepsole Analytic จาก บริษัท สเตปโซล จำกัด
รองชนะเลิศอันดับที่ 2 ได้แก่ ทีม DRX corporation (บุคคลทั่วไป) และทีม DDtech จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (ได้รับทีมละ 10,000 บาท ต้องขอขอบคุณบจก. พนัส แอสเซมบลีย์ ในการสนับสนุนเงินรางวัลเพิ่มเติม)

พิธีมอบรางวัล Panus Thailand Logtech award 2020: AI for New Normal Economy จะจัดขึ้นที่ห้อง Amber 3 ไบเทค บางนา เวลา 15:00 – 16:00 น.

สามคำของผู้เข้าแข่งขัน (ช่วงส่งคลิปวิดีโอ)

อย่า ยอม แพ้
มี ความ หวัง
เรา ทำ ได้
CNN
Move forward
เร่ง สุด สุด
เหลี่ยม จน กลม
พระจันทร์สว่างจ้า อ๋อ นั่นพระอาทิตย์
มันดีครับ
ตัด คลิป ไม่เก่ง
สุดไปเลย
อย่าง ลุ้น อ่ะ
ทริป เปิ้ล พี
สู้ ตาย แน้ว
โต้รุ่ง ฟุ้งเฟ้อ สุดมัน

เกือบ ไม่ ทัน
เอา เต็ม ที่
ขอบคุณครับ
ง่วง นอน มาก
สนุกดีมาก
อย่ายอมเเพ้
สู้ สู้ โว้ย
ง่วง ง่วง ง่วง
เอาใจช่วย
นอนไม่พอ
เผา-ไฟ-แล่ป
เทค หลาย รอบ
ง่วง นอน จัง
ใหญ่ ชิ้น สด
งานนี้ปัง

ข้อมูลระหว่างการแข่งขัน

สถิตการแข่งขัน Pitching: AI for New Normal Economy

มีทีมแข่งขันทั้งหมด 54 ทีม
มีผู้เข้าแข่งขัน 115 คน

แบ่งเป็นทีม

  • 1 คน จำนวน 18 ทีม
  • 2 คน จำนวน 11 ทีม
  • 3 คน จำนวน 25 ทีม

ประเภททีม

  • บุคคลทั่วไป จำนวน 25 ทีม
  • อุดมศึกษา จำนวน 22 ทีม
  • มัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า จำนวน 7 ทีม

สถิตของหัวข้อนวัตกรรม

นวัตกรรมและธุรกิจโลจิสติกส์และการขนส่งสมัยใหม่4
นวัตกรรมและธุรกิจการสัญจรอัจฉริยะ4
นวัตกรรมและธุรกิจเมืองอัจฉริยะ5
นวัตกรรมและธุรกิจการผลิตอัจฉริยะ5
นวัตกรรมและธุรกิจการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่า2
นวัตกรรมและธุรกิจการเงินและการประกันภัยสมัยใหม่6
นวัตกรรมและธุรกิจการวัดและบันทึกในทุกสิ่ง3
นวัตกรรมและธุรกิจการเกษตรแม่นยำและการค้า6
นวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคต15
นวัตกรรมและธุรกิจการป้องกันประเทศและการบิน4

การแข่งขันเพื่อสร้างปัญญาประดิษฐ์สำหรับเศรษฐกิจนิวนอร์มอล หลังโควิด มีความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตของคนในสังคม จนเกิดคำศัพท์ที่พูดกันในวงกว้างว่า นิวมอร์มัล (New Normal) ทั้งชีวิตการดำเนินชีวิตในสังคม และดำเนินธุรกิจจะมีการเปลี่ยนไปจากเดิมภาพรวมจะกลายเป็นระบบสังคมและเศรษฐกิจใหม่ เช่น การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มาแทนแรงงานในโรงงาน การทำเกษตรที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ การแพทย์สมัยใหม่ที่พึงพาระบบดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ การศึกษาแบบออนไลน์และเนื้อหาที่เน้นการปฏิบัติ การเคลื่อนย้ายที่ใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะ การท่องเที่ยวการโรงแรมแบบใหม่ใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ การบริหารองค์กรและรัฐบาลอีเล็กทรอนิกส์ การเงินการธนาคารที่เน้นความปลอดภัยและเป็นเซฟเซอร์วิส การค้าขายบนระบบแพลตฟอร์มที่บูรณาการกับปัญญาประดิษฐ์ ชีวิตความเป็นอยู่ ของคนยุคใหม่ที่มีความสะดวกสบายมากขึ้นจากเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์

วัตถุประสงค์

  • เพื่อเป็นเวทีในการแสดงความสามารถของเยาวชนบุคคลทั่วไปและผู้ประกอบการไทย ที่มีความสนใจในการพัฒนาโปรแกรม, ซอฟต์แวร์, หรือระบบและอุปกรณ์ชาญฉลาด
  • เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็น ทำให้ผู้เข้าร่วมเกิดความริเริ่มสร้างสรรค์ไปสู่การสร้างบุคลากรด้านปัญญาประดิษฐ์ อันเป็นฐานกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศในอนาคต
  • เพื่อส่วนสำคัญยิ่งในการผลักดันและยกระดับผลงานไทยให้มีความสามารถเป็นที่ประจักษ์

เป้าหมาย

  • การสร้างสรรค์ผลงานระบบปัญญาประดิษฐ์ที่จะนำไปสู่การใช้งานจริง ที่ปรากฏสู่สาธารณชนและสู่ภาคเอกชน
  • การ Pitch เชิงไอเดียความคิดต้นแบบอธิบายว่าเทคโนโลยีนั้นไปแก้ Pain อะไรของธุรกิจและเมื่อใช้งานจริงจะสร้าง Value ให้กับธุรกิจมากน้อยแค่ไหนและจะ Impact ต่อเศรษฐกิจภาพรวมอย่างไร
  • ทำให้เกิดไอเดียแนวคิดใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์หรือยังเกิดอะไรที่แปลกใหม่ที่เรียกกันคุ้นหู New Normal

หัวข้อนวัตกรรม

  • นวัตกรรมและธุรกิจโลจิสติกส์และการขนส่งสมัยใหม่ (Modern Logistics and Transportations)
  • นวัตกรรมและธุรกิจการสัญจรอัจฉริยะ (Smart Mobility)
  • นวัตกรรมและธุรกิจเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
  • นวัตกรรมและธุรกิจการผลิตอัจฉริยะ (Smart Manufacturing)
  • นวัตกรรมและธุรกิจการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่า (Innovative Value Chain)
  • นวัตกรรมและธุรกิจการเงินและการประกันภัยสมัยใหม่ (Modern and Secured Finance/Insurance)
  • นวัตกรรมและธุรกิจการวัดและบันทึกในทุกสิ่ง (Sensorization of Things: SoT)
  • นวัตกรรมและธุรกิจการเกษตรแม่นยำและการค้า (Precision Agriculture and Commercials)
  • นวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคต (Future Health Care and Awareness)
  • นวัตกรรมและธุรกิจการป้องกันประเทศและการบิน (Modern Defence and Aviation Industries)

เทคโนโลยีและขั้นตอนทางปัญญาประดิษฐ์แนะนำ

  • Agent-based Systems
  • Approximate Reasoning
  • Artificial Intelligence in Modeling and Simulation
  • Artificial Intelligence in Scheduling and Optimization
  • Bioinformatics and Computational Biology
  • Brain-Machine Interfaces
  • Cognitive Systems and Applications
  • Collective Intelligence
  • Computer Vision
  • Data Mining
  • Differential Evolution
  • Evolutionary Data Mining
  • Evolutionary Scheduling
  • Expert Systems
  • Fuzzy Control and Intelligent Systems
  • Fuzzy Decision Making and Decision Support Systems
  • Fuzzy Optimization and Design
  • Fuzzy Systems for Robotics
  • Game Theory
  • Human-Computer Interaction
  • Intelligent Database Systems
  • Knowledge Engineering
  • Machine Learning
  • Multi-Agent Systems
  • Natural Language Processing
  • Neural Network Theory and Architectures
  • Robotics and Related Fields
  • Speech Understanding
  • Web Intelligence
  • Autonomous vehicles
  • Adaptive and flexible industrial robotics
  • Advanced Tool Condition Monitoring
  • Image recognition and interpretation
  • Agriculture robots
  • Intelligent Avionics
  • Intelligent buildings and warehouses
  • AI Planning for robotics
  • Airspace Control, Traffic and Transportation

  • Intelligent devices and instruments
  • Intelligent Traffic Engineering
  • Intelligent transportation systems
  • Automation, Mechatronics and Robotics
  • Cognitive robotics
  • Mobile robots localization and navigation
  • Modeling and simulating complex robots
  • Computer vision and object recognition
  • Multi-Robot systems
  • Coordination in robotics
  • Evolutionary robotics and reactive intelligence
  • Robot behavior engineering
  • Evolutionary Scheduling and Optimization
  • Robot learning and adaptation
  • Robotic surveillance
  • Hybrid Learning Models and Methods
  • Intelligent Business Decisions
  • AI-based clinical decision making and Clinical Decision Support Systems
  • Intelligent Data Analysis
  • Intelligent data mining
  • Intelligent Database Systems
  • Knowledge Discovery
  • Knowledge Processing
  • Medical knowledge engineering
  • Concurrent and Parallel Processing
  • Multimedia Processing Techniques
  • Diagnostic assistance
  • Distributed Intelligent Processing
  • Next-Generation Networks
  • Prudent Financial Management
  • Evolutionary Design
  • Real-time reactivity
  • Secure Software Systems
  • Reasoning with medical knowledge
  • Sensors for Intelligent Manufacturing
  • Unmanned Aviation and Intelligent Drones
  • Case-Based Reasoning

สิ่งที่จะได้รับ

  • เงินรางวัล
    • ชนะเลิศรับเงินรางวัลทีมละ 30,000 บาท
    • รองชนะเลิศอันดับที่ 1 รับเงินรางวัลทีมละ 20,000 บาท
    • รองชนะเลิศอันดับที่ 2 รับเงินรางวัลทีมละ 10,000 บาท
  • ประกาศนียบัตรสำหรับทีมชนะเลิศ และทีมรองชนะเลิศอันดับที่ 1 และรองชนะเลิศอันดับที่ 2
  • เกียรติบัตรการเข้าร่วมกิจกรรมของ
    • สมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย
    • บริษัท พนัสแอสเซมบลีย์ จำกัด
    • สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆที่ทางสมาคมจัดทำ
  • โอกาสคัดเลือกเข้าทำงานในองค์กรต่าง ๆ ในเครือข่าย จากคำแนะนำของสมาคมฯ
  • โอกาสเป็นวิทยากรประจำสมาคม หรือเครือข่ายสมาคมฯ
  • โอกาสเป็นวิทยากรในงานกิจกรรมต่าง ๆ ที่ ทางสมาคมฯและเครือข่ายจัดขึ้น

หมายเหตุ
การปรับเปลี่ยนเงื่อนไขผลประโยชน์เพิ่มเติม อ้างอิงตามข้อตกลงทั้งสองฝ่าย ระหว่างผู้รับรางวัล และสมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย
โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขของ มติที่ประชุมคณะกรรมการสมาคมฯ และเครือข่ายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กำหนดการ

รายการวันและเวลา (UTC+7)
รับสมัครแข่งขัน9 กันยายน 2563 23:59 น.
ประกาศรายชื่อทีม10 กันยายน 2563 18:00 น.
เริ่มพิธีการเปิด11 กันยายน 2563 18:45 น.
ช่วงการแข่งขัน11 กันยายน 2563 20:00 น. – 13 กันยายน 2563 13:00 น.
ประกาศผลชนะเลิศ13 กันยายน 2563 18:00 น.
กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลง
รายการวันและเวลาสำหรับทีมจากประเทศญี่ปุ่น (UTC+9)
รับสมัครแข่งขัน2020年08月10日 01:59.
ประกาศรายชื่อทีม2020年08月10日 20:00
เริ่มพิธีการเปิด2020年08月11日 20:45
ช่วงการแข่งขัน2020年08月11日 22:00 – 2020年08月13日 15:00
ประกาศผลชนะเลิศ2020年08月13日 20:00
กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลง

กำหนดการระหว่างการแข่งขัน

คุณสมบัติของผู้เข้าแข่งขัน

  • สัญชาติ ไทย หรือ ชาวต่างชาติที่พำนักในประเทศไทย
  • อายุ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
  • ผู้เข้าแข่งขันทีมละ 1 – 3 คน
  • คนไทยในต่างแดน สามารถเข้าร่วมแข่งขันได้
  • ต้องไม่เป็นกรรมการ, ที่ปรึกษา หรือเจ้าหน้าที่ของสมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย และบริษัท พนัส แอสเซมบลีย์ จำกัด

เกณฑ์การตัดสิน

[รอบแรก] คลิปวิดีโอ

  • ความยาวคลิปวิดีโอไม่เกิน 3 นาที
  • การให้คะแนนมี 3 ด้าน คะแนนรวมทั้งหมด 100 คะแนน รายละเอียดมีดังนี้
    • การนำเสนอปัญหาของธุรกิจ 50 คะแนน
    • การแก้ด้วยปัญญาประดิษฐ์ 30 คะแนน
    • ความสวยงามของคลิปวิดีโอ 20 คะแนน
[รอบชิงชนะเลิศ] Pitch ให้กับกรรมการ
  • คัดเลือกจาก 10 ทีมที่มีคะแนนสูงสุดจากรอบแรก
  • มีเวลาให้ทีมละ 10 นาที
    • 7 นาที สำหรับการนำเสนอ
    • 3 นาที สำหรับการถามตอบกับกรรมการ
  • การให้คะแนนมี 4 ด้าน คะแนนรวมทั้งหมด 100 คะแนน รายละเอียดมีดังนี้
    • เชิงเทคนิค: ต่อยอดผลงานหรือผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ 30 คะแนน
    • เชิงธุรกิจ: ความเป็นไปได้เชิงธุรกิจ 30 คะแนน
    • เชิงความพร้อม: ความพร้อมทำให้นวัตกรรมเกิดขึ้น 20 คะแนน
    • เชิงคิดสร้างสรรค์: ความแปลกใหม่ของนวัตกรรม 20 คะแนน

การให้เกียรติบัตรการเข้าร่วมกิจกรรม

  • ส่งคลิปวิดีโอ ระหว่างเวลา 12:00 – 13:30 น. ของวันที่ 12 กันยายน 2563

รายชื่อทีม

ลำดับทีมชื่อทีมห้วข้อนวัตกรรมที่เลือกประเภทจำนวนสมาชิกในทีม
1Pangineeringนวัตกรรมและธุรกิจการผลิตอัจฉริยะบุคคลทั่วไป1
2Santeนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตระดับอุดมศึกษา3
3Noviceนวัตกรรมและธุรกิจการเงินและการประกันภัยสมัยใหม่ระดับอุดมศึกษา1
4DDtechนวัตกรรมและธุรกิจการป้องกันประเทศและการบินระดับอุดมศึกษา3
5PNPTนวัตกรรมและธุรกิจการผลิตอัจฉริยะบุคคลทั่วไป1
6Stepsole Analyticนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตบุคคลทั่วไป1
7BUNewNormalนวัตกรรมและธุรกิจการผลิตอัจฉริยะระดับอุดมศึกษา3
8DRX corporationนวัตกรรมและธุรกิจการเงินและการประกันภัยสมัยใหม่บุคคลทั่วไป3
9LongDoนวัตกรรมและธุรกิจโลจิสติกส์และการขนส่งสมัยใหม่บุคคลทั่วไป3
10Social Cloudนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตบุคคลทั่วไป2
11August (New gen DekDoi)นวัตกรรมและธุรกิจเมืองอัจฉริยะระดับมัธยมหรือเทียบเท่า3
12Beauty of the seaนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตระดับอุดมศึกษา1
13Fin In Blogนวัตกรรมและธุรกิจการเงินและการประกันภัยสมัยใหม่บุคคลทั่วไป1
14dotstepนวัตกรรมและธุรกิจการสัญจรอัจฉริยะระดับอุดมศึกษา2
15AOXนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตระดับมัธยมหรือเทียบเท่า2
16Old-Geezerนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตบุคคลทั่วไป1
17Juนวัตกรรมและธุรกิจการวัดและบันทึกในทุกสิ่งระดับอุดมศึกษา1
18มิกกี้ปลิงนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตระดับมัธยมหรือเทียบเท่า3
19Btomorrowนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตระดับอุดมศึกษา3
20AiBitนวัตกรรมและธุรกิจการผลิตอัจฉริยะบุคคลทั่วไป2
21MUTAREนวัตกรรมและธุรกิจการเกษตรแม่นยำและการค้าระดับมัธยมหรือเทียบเท่า3
22ชมรมคนชอบหุ่นยนต์นวัตกรรมและธุรกิจการสัญจรอัจฉริยะระดับอุดมศึกษา3
23RawSpiritนวัตกรรมและธุรกิจโลจิสติกส์และการขนส่งสมัยใหม่ระดับอุดมศึกษา3
24Plant Planนวัตกรรมและธุรกิจการเกษตรแม่นยำและการค้าบุคคลทั่วไป1
25greentechนวัตกรรมและธุรกิจการเกษตรแม่นยำและการค้าระดับอุดมศึกษา3
26Jufjufนวัตกรรมและธุรกิจการป้องกันประเทศและการบินบุคคลทั่วไป1
27MunchkinCarrierนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตระดับอุดมศึกษา2
28robot​ smart​ 01นวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตบุคคลทั่วไป3
29Stepbuyนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตบุคคลทั่วไป2
30ไม่ยอมแพ้นวัตกรรมและธุรกิจการเงินและการประกันภัยสมัยใหม่ระดับอุดมศึกษา2
31SISPARIAนวัตกรรมและธุรกิจการผลิตอัจฉริยะบุคคลทั่วไป1
32JVนวัตกรรมและธุรกิจการสัญจรอัจฉริยะบุคคลทั่วไป2
33back numberนวัตกรรมและธุรกิจการเงินและการประกันภัยสมัยใหม่บุคคลทั่วไป1
34Getalarmนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตบุคคลทั่วไป2
35newbieนวัตกรรมและธุรกิจการสัญจรอัจฉริยะระดับอุดมศึกษา2
36LoahavilaiFamilyนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตบุคคลทั่วไป3
37โควิดมาร์เก็ตเพลสนวัตกรรมและธุรกิจโลจิสติกส์และการขนส่งสมัยใหม่บุคคลทั่วไป3
38ไม่ยอมเเพ้นวัตกรรมและธุรกิจการเงินและการประกันภัยสมัยใหม่ระดับอุดมศึกษา3
39Good Neighborsนวัตกรรมและธุรกิจเมืองอัจฉริยะระดับอุดมศึกษา3
40สามหล่อกู้โลกนวัตกรรมและธุรกิจการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าระดับมัธยมหรือเทียบเท่า3
41เจนฌาญานวัตกรรมและธุรกิจการเกษตรแม่นยำและการค้าบุคคลทั่วไป1
42AI = Absolutely Idiotsนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตระดับอุดมศึกษา1
43แม่โพสพนวัตกรรมและธุรกิจการเกษตรแม่นยำและการค้าระดับอุดมศึกษา3
44Ifraนวัตกรรมและธุรกิจเมืองอัจฉริยะบุคคลทั่วไป1
45NNNNนวัตกรรมและธุรกิจการเกษตรแม่นยำและการค้าบุคคลทั่วไป1
46Anti Anti AIนวัตกรรมและธุรกิจโลจิสติกส์และการขนส่งสมัยใหม่บุคคลทั่วไป3
47printf Aiนวัตกรรมและธุรกิจการป้องกันประเทศและการบินระดับมัธยมหรือเทียบเท่า3
48Next Gen Innovator TOTนวัตกรรมและธุรกิจการวัดและบันทึกในทุกสิ่งบุคคลทั่วไป3
49หลานยายเน้ยนวัตกรรมและธุรกิจการวัดและบันทึกในทุกสิ่งระดับอุดมศึกษา3
50Triple Pนวัตกรรมและธุรกิจเมืองอัจฉริยะระดับอุดมศึกษา3
51The Blankนวัตกรรมและธุรกิจสุขภาพอนาคตบุคคลทั่วไป1
52N.K.S Teamนวัตกรรมและธุรกิจเมืองอัจฉริยะระดับมัธยมหรือเทียบเท่า1
53Swarm​ UAVนวัตกรรมและธุรกิจการป้องกันประเทศและการบินระดับอุดมศึกษา3
54Charcoal Teamนวัตกรรมและธุรกิจการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าระดับอุดมศึกษา2

สมัครแข่งขัน

ปิดรับสมัคร


ข้อมูลระหว่างการแข่งขัน

กำหนดการระหว่างการแข่งขัน

รายการวันและเวลา (UTC+7)
เริ่มพิธีการเปิด (ผ่าน Facebook Live)11 กันยายน 2563 18:45 น.
บรรยายเรื่อง Business Model & Pitching (ผ่าน Facebook Live)
โดยคุณวินิจ ลิ่มเจริญ
CEO We Chef (Thailand) Co., Ltd.
Food Truck Management Platform
11 กันยายน 2563 19:00 น.
.
.
.
เริ่มแข่งขัน11 กันยายน 2563 20:00 น.
[รอบแรก] ส่งคลิปวิดีโอ (ผ่านเว็บไซต์ https://hackathon.aiat.or.th)
(ยาวไม่เกิน 3 นาที)
12 กันยายน 2563 12:00 – 13:30 น.
.
ประกาศผลรอบแรก (ผ่านเว็บไซต์ https://hackathon.aiat.or.th)12 กันยายน 2563 21:59 น.
[รอบชิงชนะเลิศ] การ Pitch ให้กับกรรมการ (ผ่าน Zoom)13 กันยายน 2563 13:00 น.
ประกาศผลชนะเลิศ (ผ่านเว็บไซต์ https://hackathon.aiat.or.th)13 กันยายน 2563 18:00 น.
กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลง
รายการวันและเวลาสำหรับทีมจากประเทศญี่ปุ่น (UTC+9)
เริ่มพิธีการเปิด (ผ่าน Facebook Live)2020年08月11日 20:45
บรรยายเรื่อง Business Model & Pitching (ผ่าน Facebook Live)
โดยคุณวินิจ ลิ่มเจริญ
CEO We Chef (Thailand) Co., Ltd.
Food Truck Management Platform
2020年08月11日 21:00
.
.
.
เริ่มแข่งขัน2020年08月11日 22:00
[รอบแรก] ส่งคลิปวิดีโอ (ผ่านเว็บไซต์ https://hackathon.aiat.or.th)
(ยาวไม่เกิน 3 นาที)
2020年08月12日14:00 – 15:30
.
ประกาศผลรอบแรก (ผ่านเว็บไซต์ https://hackathon.aiat.or.th)2020年08月12日 23:59
[รอบชิงชนะเลิศ] การ Pitch ให้กับกรรมการ (ผ่าน Zoom)2020年08月13日 15:00
ประกาศผลชนะเลิศ (ผ่านเว็บไซต์ https://hackathon.aiat.or.th)2020年08月13日 20:00
กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลง

คลิปวิดีโอ (รอบแรก)

  • ความยาวไม่เกิน 3 นาที
    • หากความยาวเกิน คลิปนั้นจะไม่ได้รับการพิจารณาตรวจจากคณะกรรมการ
  • การคะแนนมี 3 ด้าน
    • รายละเอียดมีดังนี้การนำเสนอปัญหาของธุรกิจ
    • การแก้ด้วยปัญญาประดิษฐ์
    • ความสวยงามของคลิปวิดีโอ
  • คณะกรรมการ
    • ตัวแทนจากบริษัท พนัส แอสเซมบลีย์ จำกัด
    • ตัวแทนจากสมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย
    • ตัวแทนจากศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยี สวทช.

การส่งคลิปวิดีโอ

คลิกที่นี่เพื่อส่งคลิป

ประกาศผลรอบแรก

ลำดับชื่อทีมตะแนน
1DRX corporation78.67
2Triple P75.67
3JV75.33
4AI = Absolutely Idiots74.67
5Stepsole Analytic74.33
6Charcoal Team72.67
7DDtech71.33
8Next Gen Innovator TOT71.33
9โควิดมาร์เก็ตเพลส71.00
10แม่โพสพ70.67

Pitching (รอบชิงชนะเลิศ)

  • ผู้ที่ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศจะเรียงลำดับนำเสนอตามคะแนนสูงสุดจากรอบแรก
  • ผู้ที่ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศจะเข้าพร้อมกันทางโปรแกรม Zoom (URL แจ้งอีกครั้ง)
  • รายนามคณะกรรมการ
    • อาจารย์อัครพงศ์ ผ่องสุวรรณ
    • อาจารย์เทพชัย ทรัพย์นิธิ
    • คุณศันสนีย์ ฮวบสมบูรณ์
    • อาจารย์นริศ หนูหอม
    • คุณปฤษฎา หิรัญบูรณะ

ตารางเวลานำเสนอรอบชิงชนะเลิศ

ลิงค์ Zoom สำหรับการนำเสนอให้กับกรรมการ (รับทางอีเมล)

เวลา (วันที่ 13 กันยายน 2563) (UTC+7)ลำดับการนำเสนอ
13:00 – 13:10 น.DRX corporation
13:15 – 13:25 น.Triple P
13:30 – 13:40 น.JV
13:45 – 13:55 น.AI = Absolutely Idiots
14:00 – 14:10 น.Stepsole Analytic
14:15 – 14:25 น.Charcoal Team
14:30 – 14:40 น.DDtech
14:45 – 14:55 น.Next Gen Innovator TOT
15:00 – 15:10 น.โควิดมาร์เก็ตเพลส
15:15 – 15:25 น.แม่โพสพ